ดัชนี Stoxx 50 futures -1.35%
ดัชนี FTSE futures -1.26%
ดัชนี DAX เยอรมันนี -1.24%
ดัชนี Hang Seng กลุ่มเทคโนโลยี -3% และกดดันตลาดภูมิภาคร่วงลงเกือบ 2% หลังดัชนี Nasdaq ร่วงลง 2.55% เมื่อคืนนี้
ดัชนีฟิวเจอร์สหุ้นสหรัฐฯ ดัชนี S&P 500 e-minis -0.48%
ทั้งนี้ ดัชนี MSCI ที่ไม่รวมตลาดหุ้นญี่ปุ่นปรับลดลง 1.6%
· ดัชนีฮ่องกงร่วง จากความกังวลต้านการผูกขาดทางการค้า - แรงขายของเทคโนโลยี และหุ้นจีนที่ปรับลง
ดัชนี HSI ปิด -2.2% ที่ 27,982.21 จุด
หุ้นกลุ่มเทคโนโลยีดิ่ง -4.5% ทำต่ำสุดรอบ 6 เดือน ภาพรวมร่วงลงกว่า 30% จากสูงสุดประวัติการณ์ที่ทำไว้เมื่อวันที่ 18 ก.พ.
หุ้นบริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ชั้นนำ อาทิ Tencent ปิด -2.9% และ Alibaba -3.5%
· หุ้นญี่ปุ่นปิดร่วงจากแรงขายหุ้นเทคโนโลยี - กังวลไวรัสระบาด
ดัชนี Nikkei ปิด -2.52% ที่ 28,774.45 จุด
ดัชนี Topix ปิด -1.84% ที่ 1,916.40 จุด
· หุ้นอินเดียปิดปรับขึ้น 4 วันทำการ - หุ้นกลุ่มโลหะทำสูงสุดประวัติการณ์ - หุ้นการเงินร่วง และกังวลเงินเฟ้อสหรัฐฯ กระทบความเชื่อมั่นนักลงทุนในตลาดเอเชีย
ดัชนี NSE Nifty 50 ปิด -0.65% ที่ 14,844.7 จุด
ดัชนี S&P BSE Sensex ปิด -0.69% ที่ 49,159.8 จุด
· หุ้นยุโรปเปิดร่วง หลังหุ้นเทคโนโลยีสหรัฐฯดิ่ง - ตลาดเอเชียร่วง - หุ้น THG ปิด +18% หลังมีการลงทุนเพิ่มใน Softbank
นอกจากนี้ ตลาดการเงินทั่วโลกยังให้ความสำคัญกับ "ข้อมูลเงินเฟ้อ"
ดัชนี Stoxx600 เปิด -1.7%
หุ้นกลุ่มท่องเที่ยวและการพักผ่อนเปิดทรุด -4% นำหุ้นกลุ่มหลักอื่นๆปรับลง
· Nasdaq Futures ปรับลงหลังเผชิญแรงเทขายในหุ้นกลุ่มเทคโนโลยีรายใหญ่
ดัชนี Nasdaq 100 Futures ปรับลง -0.7%
ดัชนี S&P500 Futures ปรับลง -0.4%
ดัชนี Dow Jones ปรับลง 70 จุด โดยประมาณ
· จีดีพีฟิลิปปินส์ไตรมาสแรกออกมาดีกว่าคาดที่ 4.2% เมื่อเทียบรายปี
· เศรษฐกิจมาเลเซียในไตรมาสแรกหดตัว -0.5% เมื่อเทียบจากปีก่อนหน้า
ซึ่งลดลงเป็นไตรมาสที่สี่ติดต่อกัน แต่ดีกว่าการคาดการณ์ของเหล่านักวิเคราะห์จาก Reutes ที่คาดว่าจะหดตัว -1.9% ขณะที่จีดีพีในไตรมาสที่สี่ที่ผ่านมาอยู่ที่ 3.4%
· อ้างอิงจากสำนักข่าวอินโฟเควสท์
- ดัชนี SET ภาคบ่ายร่วงไปเป็นกว่า 20 จุด ตามต่างประเทศรับแรงขายทำกำไร
ตลาดหุ้นไทยภาคบ่ายปรับตัวลงกว่า 20 จุด ตามตลาดต่างประเทศ หลังตลาดยุโรปเปิดทำการปรับตัวลดลงตามดัชนีดาวน์โจนส์ที่กังวลอัตราเงินเฟ้อสหรัฐ ทำให้มีแรงขายทำกำไรออกมาก่อน ขณะที่ยังไร้ปัจจัยขับเคลื่อนใหม่เข้ามาผลักดันตลาด
- กระทรวงการคลังเตรียมเสนอรายละเอียดมาตรการเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบจากวิฏฟตโควิกระลอกสามให้ที่ประชุม ครม.พิจารณาอีกครั้ง
- "คลัง" ยันพิจารณาถี่ยิบกู้เงินตาม พ.ร.ก.โควิด-19 วงเงิน 1 ล้านล้านบาท เน้นแหล่งเงินในประเทศเป็นหลัก มีเครื่องมือกู้เงินเพียงพอในการเยียวยา-ฟื้นฟูเศรษฐกิจพร้อมพิจารณาอย่างรอบคอบ "สภาพัฒน์" แจงโครงการแพทย์ สธ.ยังเบิกจ่ายล่าช้าได้เพียง 27.5% เหตุหน่วยงานอยู่ระหว่างดำเนินการตามขั้นตอน "เพื่อไทย" ห่วงค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลโควิดพุ่งซ้ำเติมภาระการคลัง ลั่นหลังเปิดสภาฯ จี้รัฐบาลตัดงบซื้ออาวุธมาสู้โควิด