Reuters Polls เผยมุมมองนักเศรษฐศาสตร์กว่า 100 ราย ที่มีการปรับมุมมองใหม่เดี่ยวกั
บรรดาผู้ร่วมตอบแบบสอบถาม ยังมองว่า เฟดจะรอจนถึงช่วงปลายปี ก่อนประกาศลด QE และเวลานี้ตลาดให้ความสนใจเรื่
อุปสงค์ในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น ควบคู่กับการที่สหรัฐฯกลับมาเปิ
กว่า 60% ของนักเศรษฐศาสตร์ คาดโอกาส “ประกาศลด QE จะเกิดขึ้นในไตรมาสที่ 3/2021” แม้ว่าการฟื้นตัวในตลาดแรงงานช่
** นักเศรษฐศาสตร์ 13 ราย เชื่อว่า เฟดอาจประกาศช่วงการประชุ
** นักเศรษฐศาสตร์ 21 ราย คาดว่า การประกาศจะเกิดขึ้นหลั
มุมมองนักวิเคราะห์:
หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์จาก ING
- คาดอาจเห็นความ “ชัดเจน” ในการประชุมที่ Jackson Hole Conference เรื่องเฟดกำลังหารือกันถึงการลด QE
- เฟดอาจกล่าวถึงความคืบหน้าเรื่
** นักเศรษฐศาสตร์เกือบ 60% มองว่า การเริ่มลดวงเงินการซื้อพันธบั
ปัจจุบันเฟดเข้าซื้อ QE ดังนี้
พันธบัตรรัฐบาล 8 หมื่นล้านเหรียญ/เดือน
ตราสารหนี้ MBS 4 หมื่นล้านเหรียญ/เดือน
คาดการณ์:
เฟดอาจลดการซื้อลง 2 หมื่นล้านเหรียญ แต่วงเงินที่แตกต่างกัน ทำให้บางส่วนคาดการซื้อ QE จะอยู่ราว
พันธบัตรรัฐบาล 4 หมื่นล้านเหรียญ/เดือน
ตราสารหนี้ MBS 2 หมื่นล้านเหรียญ/เดือน
อย่างไรก็ดี ค่าใช้จ่ายขับเคลื่อนเศรษฐกิ
ไตรมาส 3/2021 อาจโตได้ 7% (เดิมคาด 6.7%)
ไตรมาส 4/2021 อาจโตได้ 10% (เดิมคาด 9.5%)
นักวิเคราะห์จาก ING ยังมองว่า
- การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ มีการสูญเสียด้านผลผลิ
- สิ้นปีอาจเห็นเศรษฐกิจสหรั
- แนวโน้มการเติบโตช่วงสิ้นปีมี
คาดการณ์เรื่องอัตราว่างงาน:
มีโอกาสปรับลงอย่างค่อยเป็นค่
เฉลี่ยปี 2021 อยู่แถว 5%
เฉลี่ยปี 2021 อยู่ราว 4%
ภาพรวมสูงกว่า 3.5% ช่วงก่อนไวรัสระบาด
ทั้งนี้ เฟดพึงพอใจกับการปรับขึ้นของเงิ
- Core PCE Price Index เม.ย. ขยายตัวแตะ 3.1% เป็นการขยายตัวรายปีที่มากที่สุ
เฉลี่ยปีนี้เงินเฟ้อน่าจะแตะ 2.5%
เฉลี่ยปีหน้าเงินเฟ้อน่าจะแตะ 2.2%
(สูงกว่าเป้าหมายเฟด 2% และสูงกว่ามุมมองคาดการณ์เดิม 2.1% ทั้งสองปี)
นักกกลยุทธ์อาวุโสจาก Rabobank กล่าวว่า
- ส่วนใหญ่ตลาดมองเงินเฟ้อเป็นเพี
- กาาเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง, ทิศทางเศรษฐกิจโลก และการดำเนินนโยบายการเงิ
** นักเศรษฐศาสตร์เกือ 60% คิดว่า การเพิ่มขึ้นของเงินเฟ้อ เป็น “ความเสี่ยงครั้งใหญ่ทางเศรษฐกิ
** นักเศรษฐศาสตร์กว่า 2 ใน 3 ของการตอบแบบสำรวจ แสดงความกังวลต่อเงินเฟ้อ
นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสจาก BMO Capital Markets กล่าวว่า
1) การเร่งฉีดวัคซีน
2) การใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ
เป็น 2 สาเหตุที่ทำให้อุปสงค์รีบาวน์